.

   

 มาติดตาม ข่าวคราวโปแตช กัน ครับ

แก้ไขล่าสุด 8 ตุลาคม 2550 

        

อ่านประวัติ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย(วสท.)ตามลิ้งค์ข้างล่างนี้ ครับ

http://www.eit.or.th/

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์

ดร.สมพร จองคำ และ อารีรัตน์ คอนดวงแก้ว

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ จัดเป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนชนิดหนึ่ง มีหลักการทำงาน คล้ายคลึงกับโรงไฟฟ้า ที่ใช้น้ำมัน ถ่านหิน และก๊าซธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิง โดยโรงไฟฟ้านิวเคลียร์นั้น สามารถแบ่งส่วนการทำงาน ได้ 2 ส่วน คือ ส่วนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ จะใส่แท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ ไว้ในน้ำภายในโครงสร้างที่ปิดสนิท เพื่อให้ความร้อน ที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน ไปต้มน้ำ ผลิตไอน้ำ แทนการผลิตไอน้ำ จากการสันดาปเชื้อเพลิง ชนิดที่ก่อให้เกิดก๊าซมลพิษ และส่วนผลิตไฟฟ้า เป็นส่วนที่รับไอน้ำ จากเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แล้วส่งไปหมุนกังหันผลิตไฟฟ้า ซึ่งส่วนนี้ เป็นองค์ประกอบ ของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนทุกชนิด

ส่วนประกอบของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ส่วนกำเนิดพลังงาน ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ กล่าวโดยกว้างๆ จะประกอบด้วย เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ น้ำที่ใช้ระบายความร้อน และเป็นสารหน่วงความเร็วนิวตรอนด้วย ถังปฏิกรณ์ความดันสูง ระบบควบคุมปฏิกิริยา ระบบควบคุมความปลอดภัย ซึ่งช่วยป้องกันและแก้ไข กรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน และระบบผลิตไอน้ำ เป็นต้น

เชื้อเพลิงยูเรเนียม ที่ใช้ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยปกติจะมีความเข้มข้นของไอโซโทปยูเรเนียม-235 ประมาณร้อยละ 2 (ที่เหลือเป็นยูเรเนียม-238 ซึ่งไม่สามารถเกิดปฏิกิริยาฟิชชันได้ ในสภาวะของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ทั่วไป) ในรูปออกไซด์ ของยูเรเนียม โดยได้มาจากการ ถลุงแร่ยูเรเนียม ที่มีอยู่ในธรรมชาติ (ไอโซโทปยูเรเนียม ที่มีอยู่ในธรรมชาติ ประกอบด้วยยูเรเนียม-235 ประมาณร้อยละ 0.7 และเป็นยูเรเนียม-238 ประมาณร้อยละ 99.27 ที่เหลือเป็นยูเรเนียม-234 ปริมาณน้อยมาก) แล้วนำไปผ่าน กระบวนการเสริมสมรรถนะ ให้มีปริมาณยูเรเนียม-235 มากขึ้น และหลังจากที่ ทำให้อยู่ในรูปของออกไซด์ แล้วถูกอัดทำให้เป็นเม็ดเล็กๆ บรรจุภายในแท่งโลหะผสม ของเซอร์โคเนียม ซึ่งจะถูกนำมารวมกลุ่มกัน เป็นมัดเชื้อเพลิง ประกอบกันเป็นแกนปฏิกรณ์ บรรจุอยู่ภายในถังปฏิกรณ์ ที่ทนความดันสูง ภายในถังปฏิกรณ์ มีน้ำ ที่อยู่ภายใต้การควบคุมความกดดันบรรจุอยู่ เพื่อใช้เป็นตัวระบายความร้อน ออกจากแท่งเชื้อเพลิงโดยตรง และยังใช้ประโยชน์ เป็นตัวหน่วงความเร็วของนิวตรอนด้วย เพื่อให้นิวตรอนที่เกิดขึ้น มีความเร็วพอเหมาะ ที่จะเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชันต่อไปได้

ปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิชชัน ในเชื้อเพลิงโรงไฟฟ้านิวเคลียร์นั้น ควบคุมได้โดยใช้แท่งควบคุม ซึ่งเป็นสารที่มีคุณสมบัติพิเศษ ในการดูดจับอนุภาคนิวตรอน เช่น โบรอนคาร์ไบด์ ทำหน้าที่ควบคุม ให้เกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์เพิ่มขึ้น หรือลดลง ตามที่ต้องการ โดยการเลื่อนแท่งควบคุมเข้าออก ภายในแกนปฏิกรณ์ตามแนวขึ้นลง เพื่อดูดจับอนุภาคนิวตรอนส่วนเกิน

แบบของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ปัจจุบันทั่วโลก ได้นิยมใช้โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 3 แบบ ได้แก่

1. โรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบใช้น้ำความดันสูง (Pressurized Water Reactor : PWR) โรงไฟฟ้าชนิดนี้ จะถ่ายเทความร้อน จากแท่งเชื้อเพลิงให้น้ำ จนมีอุณหภูมิสูงประมาณ 320 องศาเซลเซียส ภายในถังขนาดใหญ่ จะอัดความดันสูงประมาณ 15 เมกะปาสคาล (Mpa) หรือประมาณ 150 เท่าของความดันบรรยากาศไว้ เพื่อไม่ให้น้ำเดือดกลายเป็นไอ และนำน้ำส่วนนี้ ไปถ่ายเทความร้อน ให้แก่น้ำหล่อเย็นอีกระบบหนึ่ง เพื่อให้เกิดการเดือด และกลายเป็นไอน้ำออกมา เป็นการป้องกัน ไม่ให้น้ำในถังปฏิกรณ์ ซึ่งมีสารรังสีเจือปนอยู่ แพร่กระจายไปยังอุปกรณ์ส่วนอื่นๆ ตลอดจนป้องกัน การรั่ว ของสารกัมมันตรังสี สู่สิ่งแวดล้อม

2. โรงไฟฟ้าแบบน้ำเดือด (Boiling Water Reactor : BWR) สามารถผลิตไอน้ำได้โดยตรง จากการต้มน้ำภายในถัง ซึ่งควบคุมความดันภายใน (ประมาณ 7 Mpa) ต่ำกว่าโรงไฟฟ้านิวเคลียร์แบบแรก (PWR) ดังนั้น ความจำเป็น ในการใช้เครื่องผลิตไอน้ำ และแลกเปลี่ยนความร้อน ปั๊ม และอุปกรณ์ช่วยอื่นๆ ก็ลดลง แต่จำเป็นต้อง มีการก่อสร้างอาคารป้องกันรังสีไว้ ในระบบอุปกรณ์ส่วนต่างๆ ของโรงไฟฟ้า เนื่องจากไอน้ำจากถังปฏิกรณ์ จะถูกส่งผ่านไปยังอุปกรณ์เหล่านั้นโดยตรง

3. โรงไฟฟ้าแบบใช้น้ำมวลหนักความดันสูง (Pressurized Heavy Water Reactor : PHWR) ซึ่งประเทศแคนาดา เป็นผู้พัฒนาขึ้นมา จึงมักเรียกชื่อย่อว่า “CANDU” ซึ่งย่อมาจากคำว่า Canadian Deuterium Uranium มีการทำงานคล้ายคลึงกับ แบบ PWR แต่แตกต่างกันที่ มีการจัดแกนปฏิกรณ์ในแนวระนาบ และเป็นการต้มน้ำ ภายในท่อขนาดเล็ก จำนวนมาก ที่มีเชื้อเพลิงบรรจุอยู่ แทนการต้มน้ำ ภายในถังปฏิกรณ์ขนาดใหญ่ เนื่องจากสามารถผลิตได้ง่ายกว่า การผลิตถังขนาดใหญ่ โดยใช้ “น้ำมวลหนัก” (Heavy Water, D2O) มาเป็นตัวระบายความร้อน จากแกนปฏิกรณ์ นอกจากนี้ ยังมีการแยกระบบใช้น้ำมวลหนัก เป็นตัวหน่วงความเร็ว ของนิวตรอนด้วย เนื่องจากน้ำมวลหนัก มีการดูดกลืนนิวตรอน น้อยกว่าน้ำธรรมดา ทำให้ปฏิกิริยานิวเคลียร์ เกิดขึ้นได้ง่าย จึงสามารถใช้เชื้อเพลิงยูเรเนียม ที่สกัดมาจากธรรมชาติ ซึ่งมียูเรเนียม-235 ประมาณร้อยละ 0.7 ได้ โดยไม่จำเป็น ต้องผ่านกระบวนการปรังปรุง ให้มีความเข้มข้นสูงขึ้น ทำให้ปริมาณผลิตผล จากการแตกตัว (fission product) ที่เกิดในแท่งเชื้อเพลิงใช้แล้ว มีน้อยกว่าเครื่องปฏิกรณ์ แบบใช้น้ำธรรมดา

ข้อดีและข้อเสียของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

ข้อดี

  1. เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่สามารถให้กำลังผลิตสูงกว่า 1,200 เมกะวัตต์
  2. มีต้นทุนการผลิตไฟฟ้าแข่งขันได้กับโรงไฟฟ้าชนิดอื่น
  3. เป็นโรงไฟฟ้าที่สะอาด ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ
  4. สริมสร้างความมั่นคงของระบบผลิตไฟฟ้า เนื่องจากใช้เชื้อเพลิงน้อย ทำให้เสถียรภาพใน การจัดหาเชื้อเพลิง และราคาเชื้อเพลิง มีผลกระทบ ต่อต้นทุนการผลิตเล็กน้อย
ข้อเสีย

  1. ใช้เงินลงทุนเริ่มต้นสูง
  2. จำเป็นต้องเตรียมโครงสร้างพื้นฐาน และการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
  3. จำเป็นต้องพัฒนา และเตรียมการ เกี่ยวกับการจัดกากกัมมันตรังสี การดำเนินงาน ด้านแผนฉุกเฉินทางรังสี และมาตรการควบคุม ความปลอดภัย เพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
  4. การยอมรับของประชาชน
โครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

ในปี พ.ศ. 2519 รัฐบาลได้อนุมัติ ให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ขนาด 600 เมกะวัตต์ ที่อ่าวไผ่ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี แต่ได้มีการคัดค้าน จากประชาชน ทำให้รัฐบาลจัดสินใจ ล้มเลิกโครงการไปในที่สุด นอกจากนี้ ในช่วงเวลาที่ผ่านมาถึงปัจจุบัน กฟผ. ได้ร่วมกับหน่วยงานรัฐบาล เอกชน และ องค์กรต่างๆ จากภายใน และภายนอกประเทศ รวมทั้งผู้จำหน่ายทั่วโลก จัดกิจกรรม ให้ความรู้ ทางเทคโนโลยี โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ โดยผ่านการประชุมวิชาการ การสัมมนา จัดนิทรรศการ และจัดทำสื่อต่างๆ กล่าวได้ว่า ขั้นตอนแรก ได้สร้างความตื่นตัว และความสนใจประชาชน (Public Awareness) ต่อมา ดำเนินการ ขั้นตอนการสร้างความเข้าใจ (Public Understand) เพื่อนำไปสู่ขั้นตอนสุดท้าย คือ การยอมรับของประชาชน (Public Acceptance) ซึ่งจะมีการ เข้าดำเนินการ ให้เกิดการยอมรับ ในหมู่ประชาชนทั่วไป และชุมชนที่คาดว่า จะเป็นบริเวณที่ตั้ง ของโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ต่อไป

รองประธาน สป. นำขบวนเดินหน้าลงพื้นที่ พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเกลือและโพแทซ

     วันที่ 26 กันยายน 2550

 

  เมื่อวันที่ 20 -21 กันยายน 2550 คณะทำงานเฉพาะกิจเพื่อการศึกษาและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเกลือและโพแทซ โดยนายสุธรรม จิตตานุเคราะห์ รองประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คนที่ 1

       เมื่อวันที่ 20 -21 กันยายน 2550 คณะทำงานเฉพาะกิจเพื่อการศึกษาและพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเกลือและโพแทซ โดย นายสุธรรม จิตตานุเคราะห์ รองประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ คนที่ 1 ในฐานะประธานคณะทำงานเฉพาะกิจฯ ได้นำคณะ ประกอบด้วย น.ส.สุรีรัตน์ ตรีมรรคา ประธานคณะทำงานพัฒนาคุณภาพชีวิต สาธารณสุข และคุ้มครองผู้บริโภค นายวีรวัธน์ ธีรประสาธน์ ประธานคณะทำงานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม นายปริญญา ศิริสารการ นายอโณทัย ฤทธิปัญญาวงศ์ นายธีรวัจน์ นามดวง และนายภาคภูมิ วิธานติรวัฒน์ พร้อมกับผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก ได้แก่ รศ.มนตรี บุญเสนอ จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น นายสุวรรณ แดงบัว ประธานสหกรณ์เกลือโคราช และนายอรุณ อินเจริญศักดิ์ และเจ้าหน้าที่สำนักงานสภาที่ปรึกษาฯ อีก 4 ท่าน ร่วมเดินทางเข้าเยี่ยมเยียน ศึกษาดูงานอุตสาหกรรมเกลือและโพแทซครบวงจร โดยจุดแรกได้รับฟังการบรรยายพิเศษอุตสาหกรรมเกลือ และกระบวนการผลิตเกลือของบริษัท เกลือพิมาย จำกัด หรือที่หลายคนรู้จักกันในชื่อสินค้า ‘เกลือปรุงทิพย์’ โดย  นายอรุณ  อินเจริญศักดิ์ ผู้อำนวยการบริษัท เกลือพิมาย จำกัด ได้กรุณาให้ความรู้และพาคณะเข้าเยี่ยมเยีอน    โรงงานผลิตเกลือพิมาย โดยเฉพาะส่วนขยายที่ 5 ซึ่งเป็นส่วนที่เริ่มดำเนินการเมื่อไม่นานมานี้

      จากนั้น ได้เดินทางไปยังกิ่งอำเภอพระทองคำ จังหวัดนครราชสีมา เพื่อดูงานการผลิตเกลือชาวบ้าน และพบปะพูดคุยกับชาวบ้านผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเกลือพื้นบ้าน ซึ่งปัจจุบันเป็นนอกฤดูการผลิต อย่างไรก็ดี ทางคณะก็ได้สำรวจขอบเขตพื้นที่การผลิตดังกล่าว พร้อมกับสอบถามถึงปัญหาและอุปสรรคจากการประกอบอาชีพอย่างสนใจ และใกล้ชิดเป็นกันเองอย่างมาก

       นอกจากนี้ ได้ไปศึกษาดูงานโครงการทำเหมืองแร่โปแตชของอาเซียน อำเภอบำเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ โดยรับฟังการบรรยายสรุปจาก นายทนง  พรหมมา ผู้อำนวยการฝ่ายประชาสัมพันธ์ บริษัทเหมืองแร่โปแตชอาเซียน จำกัด (มหาชน) ซึ่งบริษัทดังกล่าวเป็นร่วมทุนจากหลายชาติในอาเซียน ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ญี่ปุ่น สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ และบรูไน มีทุนจดทะเบียนมากกว่า 1.6 พันล้านบาท พร้อมกับรับฟังความคิดเห็นของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 4 องค์การบริหารส่วนตำบล ได้แก่ บ้านตาล บ้านชวน บ้านเพชร และบ้านหัวทะเล อย่างไรก็ดี การดำเนินงานในปัจจุบัน อยู่ระหว่างรอความชัดเจนเชิงนโยบายในการเพิ่มทุนเพื่อให้โครงการดังกล่าวสามารถเดินเครื่องได้เต็มประสิทธิภาพของโครงการที่กำหนดไว้ ต่อไป

     ก่อนเดินทางกลับสภาที่ปรึกษาฯ ทางคณะทำงานฯ ได้รับเกียรติจากโครงการนำเยี่ยมชมการทำเหมืองแร่โปแตซภายใต้ความลึกจากผืนดิน ประมาณ 170 เมตร ลักษณะการขุดเจาะในลักษณะ room and pillar แม้ว่าจะเป็นการขุดเจาะในส่วนของหลุมทดลองก็ตามทางคณะเองล้วนได้รับประโยชน์จากการสำรวจพื้นที่จริงครั้งนี้เป็นอย่างมาก และจะนำไปเป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาพัฒนาเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายภาพรวมเกี่ยวกับอุตสาหกรรมและโพแทซ ต่อไป

:: คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเฉพาะกิจเพื่อการศึกษา
และพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเกลือและโพแทซ ::

HOME > HOMEPAGE > INTERNATIONAL

INTERNATIONAL

THE GREAT RUSSIAN FERTILIZER TAKEOVER

World potash prices could rocket on Sibur plan

A takeover plan by Sibur-Mineral Fertilizers to consolidate Russian mineral and chemical fertilizers will press upward on the international potash price.

Author: John Helmer
Posted:  Tuesday , 18 Sep 2007

MOSCOW – 

One of the world’s largest plays in consolidating mineral and chemical fertilizer assets is under way in Russia.

The outcome of this almost unrecognized, and unreported, contest could wind up restricting the flow of mined potash to major international consumers. And because Russia has become the swing producer and international market-maker in the commodity, what is happening now could light a rocket under the price of potash in the coming year.

To understand how something as peculiar as this can make easy and big money, you must start with the simple arithmetic of what used to be called manure. There are 3 ingredients in fertilizers to stimulate plant and food growth; there are 2 types of fertilizer; and 2 ways of thinking about them commercially, based on how they are manufactured.

The three plant nutrients are potassium, phosphorus, and nitrogen. The two types of fertilizer, containing these nutrients, are organic, if the elements come from naturally occurring biochemical transformations, such as animal residues or composting; or inorganic, if the elements are manufactured chemically.

Another way of viewing the production of fertilizers is whether they are mined, or synthesized chemically. Mineral fertilizers like phosphate and potash are dug out of the ground — as rock from pits, such as those in Russia, Belarus, and Canada, where most of the world’s potash reserves are located; or from water-borne salts, in evaporation pans in Jordan and Israel. Chemical fertilizers, containing nitrogen, are refined out of natural gas, and its byproduct, ammonia (aka — nitrogen hydride, NH3).

Farming mixes nitrogen, phosphate, and potash for application to the soil. But in the stock market, companies producing a mix of chemical and mineral fertilizers are assigned an asset discount. That’s because the cost of natural gas makes up about 90% of the cost of producing ammonia and its fertilizer offtakes. You might say that nitrogen fertilizer is nothing more than the conversion of a gas into a solid, but with greater profitability than the feedstock.

There’s an obvious reason the profitability of this conversion causes the market to devalue the chemical fertilizer companies — the price of natural gas can go sharply up, and down, in tandem with crude oil. Volatile energy pricing makes for unpredictable costing; and if you are stuck at the end of the fertilizer production chain, squeezed profitability.

So, when you are in the nitrogen business, you find that the market doesn’t like you as much as when you are in the potash business. The underlying fundamentals of demand for fertilizers — more mouths to feed, more food at a higher price, less land to grow it on, premium pricing for the fertilizers essential to lift crop yields — favour the market caps and valuations of pure potash plays. In the global market, there are very few of these. Russia happens to host two of the big three — Uralkali and Silvinit.

It also happens that, at the beginning of time, the great global manure god favoured the production of nitrogen fertilizer in Russia as well. That’s because Russia is endowed with the world’s largest reserves of natural gas, and the world’s largest producer and exporter of gas, Gazprom.

So long as the Russian economy was under Soviet control, the economics of gas pricing were driven by the domestic priority of holding gas prices down, and the relatively higher priority of limiting the cost of fertilizers, in order to sustain agricultural yields, raise crop output, and achieve self-sufficiency in food supply. Then, after the collapse of the planned economy, a decade of asset larceny and cashflow fraud followed.

Recently, another way of thinking about fertilizer occurred to a fresh group of Russian entrepreneurs connected to the production and sale of gas. Because that business is dominated by Gazprom, and because this is more a ministry than a corporation, the entrepreneurs we are talking about happen to be government officials, or Gazprom officials, or some combination of the two.

Here’s what they have been thinking. If nitrogen products, like ammonia, are mostly gas, and if the profitability of selling gas in the domestic, price-regulated market is lower than the price of selling gas derivatives in the export market, then why not buy up Russian exporters of ammonia, and enjoy the bigger profit margin at the point of export sale?

That’s a rhetorical question; the answer is obvious. But this isn’t quite so for those divisions of Gazprom, which make their living taking cash from domestic sales to the chemical fertilizer producers. In short, some departments of Gazprom favour investing in downstream fertilizer production, and holding down the gas cost, so as to increase the profit margin for fertilizer exports. Other departments of Gazprom favour the highest domestic price of gas they can fetch — and keeping their cash-paying customers, the ammonia converters and nitrogen fertilizer manufacturers, without taking them over.

There are billions of dollars at stake in the contest between these factions. Accordingly, the decision has been kicked up to the Kremlin, where President Vladimir Putin’s advisers are still thinking which way to go.

Last December, a strategy for downstream acquisitions of fertilizer companies was drafted by Sibur-Mineral Fertilizers (SMF), a brand new unit of Sibur, and flag-waver for the fertilizer takeover crowd.

Sibur Holding, in turn, is the semi-divested downstream production and sales division of Gazprom. Headed by Dmitri Konov, it has a product portfolio including most of the petrochemicals (76% of revenues); tyres (16%), plastics feedstocks and chemical fibres (8%). Audited revenues in 2006 totaled to Rb121.9 billion ($4.5 billion).

The holding’s motto, headlining its website, is "the art of subtle transformation". Just how subtle Sibur needs to be is spelled out in the small print of the auditor’s notes to the IFRS financial statements for last year. Referring to Russian transfer pricing rules, introduced in 1999, making taxable transaction prices that differ from market prices by more than 20%, the notes caution: "it is possible with the evolution of the interpretation of the Russian transfer pricing rules…that such transactions could potentially be challenged in the future."

Head of the new SMF is Andrei Teterkin (pronounce: tet-yor-kin), a petrochemicals executive at the defunct Yukos group, then head of strategy for the Evraz steel group. In February 2007, he took charge of SMF. In May he got the SMF board to accept what the company briefly described as "the concept of the development strategy focused on further company’s growth in Russian mineral fertilizers market." According to an industry analyst, "I don’t believe Gazprom allows SMF to swim alone in the sea, so these papers were jointly produced, and it’s difficult to identify where the head sits."

To build momentum behind his fertilizer asset plan, Teterkin has briefed Moscow investment banks on his business plan, and leaked pages of it to the Moscow business media. The idea started to become public in July — buy up the Russian fertilizer makers, who depend on gas, and raise profitability on the spread between the cost of the input and the value of the output. SMF currently owns 76% of Kemerovo Azot Joint Stock Company (ammonia) and a minority stake in Orton JSC (Kemerovo), which it took over from the holding structure. Early in September, it announced the purchase of a 3.15% stake in Perm Mineral Fertilizers (PMF). Another 31% or more of PMF has reportedly been sold to an unidentified consolidator; this looks to be Teterkin. The price paid of about $200 million, according to industry analysts, was at a 40% premium to the market valuation of PMF. Teterkin is also reported to be negotiating for an increase in SMF’s 14% shareholding in Rossosh Minudobreniya.

Just how small mineral fertilizers amounted to in Sibur’s business was reported in the financial statements for 2006, before SMF was formed. In that year, sales of mineral fertilizers came to just Rb3.6 billion ($132 million), just 3% of Sibur’s aggregate sales.

According to Teterkin’s strategy document, SMF currently holds just 9% of the Russian nitrogen fertilizers market. By 2009, he aims to take a 50% share.

Among the nitrogen fertilizer producers targeted for takeover so far, the biggest is resisting; this is Togliatti Azot (ToAZ), which is controlled by chief executive Vladimir Makhlai. ToAZ is the largest of Russia’s ammonia producers, and the single largest cash customer for Gazprom gas. The takeover attempt has also involved regional government tax checks, and a civil lawsuit alleging transfer pricing violations (now dismissed). Direct negotiations between Sibur and ToAZ were reported in April. Five months later, no outcome is clear.

Another target has been the Odessa Port Plant (OPP), the second largest fertilizer producer in the Ukraine. On September 12, however, the government in Kiev intervened, issuing an immediate ban on the scheduled privatization sale of the company for fear that it would pass into Russian hands. The SMF strategy document totes up the acquisition cost of ToAZ, OPP, and various sized stakes in other Russian companies at more than $3 billion. If successful, the Teterkin plan estimates the capital value of SMF in 2009 at $5 billion.

Teterkin’s acquisition plan for SMF goes further than nitrogen fertilizers. His proposed buy-back of apatite assets, reclaimed by the government from the Yukos group, would establish SMF strongly in the phosphate business.

Teterkin aims at taking control of the potash fertilizer companies as well. A source, who has been shown the SMF business plan, told Mineweb: "My personal opinion is that the potash part of the plan is far from alive, but it is there, in the papers." Teterkin’s scheme, as it has been reported from the SMF business plan, concedes that SMF will need a local partner to accumulate the capital and cash required to enter the potash market. But if that can be negotiated, the plan calls for an aggressive takeover of potash miners.

According to the Teterkin plan, if he gets his way, by 2009 SMF will hold 58 % of the home market for ammonia; 65% for phosphate (apatite) fertilizers; and 48 % for potash fertilizers.

Mikhail Stiskin, fertilizer sector analyst at Troika investment bank in Moscow, told Mineweb: "For now we see that Sibur assigned a separate entity for fertilizers. The growth of this entity seems logical to me into chemical and nitrogen fertilizers as production of these two significantly depends on the gas, which Gazprom can supply. For now Sibur-Mineral Fertilizers doesn’t have any serious assets, but the trend is very clear – it is that Sibur doesn’t want to limit itself only to nitrogen fertilizers, but to move into potash and phosphates. The logic is that the companies producing all three types of fertilizers, and which can mix them to produce mixed fertilizers, are quoted at significantly higher multiples than single fertilizer producers. As to the multiples – the potash producers have the highest within the fertilizer industry. If Sibur will go this way it will have to acquire Silvinit and Apatit. Both companies have problems in management, and can be pushed to lower their sale value by Gazprom."

Uralkali, Russia’s largest potash producer and the world’s largest pure potash play, is already too big for SMF to swallow, according to industry sources. Current market capitalization of Uralkali is $6.2 billion; this may reach $7 billion when and if Uralkali launches an IPO in London later this year. An announcement on this is expected in few weeks. For the foreseeable future, Uralkali is bigger than SMF.

That exposes Silvinit to a Sibur takeover. Yelena Sakhnova, analyst with the United Financial Group in Moscow, told Mineweb: "I really doubt Pyotr Kondrashov will sell Silvinit to Sibur. It is hard to guess what will happen to potash prices if this purchase will be made. I saw the Sibur plan and can tell you that it has all assets in the industry you can imagine."

"There is no doubt that the fertilizer industry has to be consolidated", says Marina Alexeyenkova of Renaissance Capital, "as everything depends on gas prices, which are rising. I saw the [Teterkin] strategy and can confirm it has Silvinit and FosAgro there." A source close to Silvinit told Mineweb that a recent decision by Silvinit’s board to lift dividend payments to shareholders by eight times, compared to 2005, is strongly suggestive of the belief on the board that Gazprom will use its muscle to back an SMF takeover.

The parallel moves by SMF into phosphates and potash can be delayed. But sources inside the fertilizer industry tell Mineweb they believe the strategic momentum of state intervention to control the price of fertilizers to the Russian farm market cannot be resisted.

Concern for the rising prices of farm grains, and of bread, have been troubling election campaign managers for the Kremlin for months. The appointment last week of Victor Zubkov as Russia’s new prime minister is likely to reinforce the sensitivities of the new government to farmers and consumers; Zubkov’s early career was as an administrator of collective farms in the Leningrad region.

A well-placed source in Moscow told Mineweb: "the impact of SMF’s takeover of Silvinit, which now looks probable, is that Gazprom will direct a sizeable part of its potash production to satisfy demand in the domestic market. The government’s anti-monopoly agency has already sent public signals that the price of potash is too high for Russian farms to afford. So you can expect that Gazprom will certainly consider the wishes of Russia’s agro-industry."

This in turn is likely to impact on the volume of Russian exports of potash, part of which are managed by Belarusian Potash Corporation (BPC), a joint venture of Uralkali and Belaruskali; Silvinit does not market its exports through the BPC.

Silvinit, according to industry sources, cannot lift its production capacity by much; Uralkali can. The latter announced last week that in the eight months of this year to August 31, it turned out 3.4 milion tonnes of potash; this is up 33% on the same period of 2006.

If Gazprom eats Silvinit, it is anticipated that Silvinit will be obliged to satisfy the government’s priority, and divert its current export tonnage of potash to domestic sales. Company reports indicate that in 2006 Silvinit produced 5.3 million tonnes of potash (K2O, up 7% on 2005). Export volume was 80%. Counting both Silvinit and Uralkali, domestic supplies of potash in 2006 amounted to about 1.5 million tonnes. Annual consumption of potash fertilizers in Russia has been projected by the federal government to double in three years to about 2.4 million tonnes.

Diversion of 1 million tonnes from export – about 14% of the current export total – would be felt immediately as a deficit of Russian potash available for sale internationally. That market has already been feeling the impact of 3% to 5% annual growth of demand, and prices have been rising sharply.

Teterkin’s business plan for the great Russian fertilizer takeover has yet to be fully endorsed by his bosses at Gazprom and the Kremlin. But the scramble for assets is already transmitting a signal that, for supplies of potash over the next two years, the commodity market should be prepared to accept higher prices. Accordingly, the stock market is preparing a wager on the acceleration of share prices for the potash producers.

 

.

รหัสวิชา :

2301-442

ชื่อวิชา :

เทคโนโลยีปุ๋ย (Fertilizer Technology)

ผู้เรียน :

นักศึกษาหลังสูตร วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตพืช) ชั้นปีที่ 3 ขึ้นไป ที่ผ่านการเรียนวิชาปฐพีวิทยาเบื้องต้น (2301-241) มาแล้ว

ผู้สอน :

ผศ.ดร. สมศักดิ์ มณีพงศ์ สถานที่ทำงาน : ห้อง 224 อาคารวิชาการ 4 โทรศัพท์ 2369

เนื้อหาวิชา :

ปัจจัยในการเจริญเติบโตของพืช ธาตุอาหารที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตของพืชชั้นสูง ปุ๋ยธาตุอาหารหลัก ปุ๋ยธาตุอาหารรอง ปุ๋ยธาตุอาหารเสริม ปุ๋ยผสม ปุ๋ยเฉพาะวัตถุประสงค์ ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพ การคำนวณปริมาณธาตุอาหาร การใช้ปุ๋ยตามผลการวิเคราะห์ดินและพืช หลักการใช้ปุ๋ยกับไม้ผล หลักการใช้ปุ๋ยกับพืชฤดูเดียว ผลกระทบของการใช้ปุ๋ยต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม

วัตถุประสงค์ :

  1. ต้องการให้นักศึกษาทราบกระบวนการผลิตปุ๋ยเคมีทั้งปุ๋ยธาตุหลักและปุ๋ยผสม
  2. ต้องการให้นักศึกษาทราบชนิดของแร่และสารเคมีที่สามารถนำมาใช้เป็นปุ๋ยธาตุรองและธาตุอาหารเสริมได้
  3. ต้องการให้นักศึกษาทราบวิธีคำนวณความต้องการปุ๋ยของพืช
  4. ต้องการให้นักศึกษาทราบวิธีใช้ปุ๋ยเคมีอย่างถูกวิธี และทราบผลกระทบจากการใช้ปุ๋ย
  5. ต้องการให้นักศึกษาข้อบังคับต่างๆ และวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติปุ๋ย
กิจกรรมเสริมการเรียน :

ทัศนศึกษาโรงงานผลิตปุ๋ยขนาดเล็กวัดป่ายาง ต.ท่างิ้ว อ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช
ทบทวนความรู้เรื่องธาตุอาหาร และความอุดมสมบูรณ์ของดิน

ความรู้เบื้องต้น เรื่องปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
บทบาทและความสำคัญของธาตุอาหารหลัก
บทบาทและความสำคัญของธาตุอาหารรอง
บทบาทและความสำคัญของธาตุอาหารเสริม

บทที่ 1.  บทนำ

ปัจจัยในการเจริญเติบโตของพืช และธาตุอาหารพืช
พัฒนาการของการผลิตและการใช้ปุ๋ยเคมี
สถานการณ์ปุ๋ยในประเทศไทย
การผลิตปุ๋ยในประเทศไทย

บทที่ 2.  การผลิตปุ๋ยไนโตรเจน

บทนำ
การตรึงไนโตรเจนในอากาศโดยใช้ไฟฟ้า
การผลิตแคลเซียมไชยานามีด
การผลิตแอมโมเนีย
การผลิตกรดไนตริก
การผลิตปุ๋ยยูเรีย
การผลิตปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต
การผลิตปุ๋ยแอมโมเนียมคลอไรด์
การผลิตปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
การผลิตปุ๋ยแอมโมเนียมไนเตรต-ซัลเฟต

บทที่ 3.  การผลิตปุ๋ยฟอสเฟต

บทนำ
หินฟอสเฟต
การผลิตกรดซัลฟูริค
การผลิตกรดฟอสฟอริค
การผลิตปุ๋ยฟอสเฟตโดยกระบวนการแอชัดดูเลชั่น
การผลิตปุ๋ยฟอสเฟตโดยกระบวนการแอมโมนิเอชั่น
การผลิตปุ๋ยฟอสเฟตโดยกระบวนการทางความร้อน

บทที่ 4.  การผลิตปุ๋ยโพแทสเซียม

วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
การผลิตปุ๋ยโพแตสเซียมคลอไรด์
การผลิตปุ๋ยโพแตสเซียมซัลเฟต
การผลิตปุ๋ยโพแตสเซียมไนเตรต
การผลิตปุ๋ยโพแตสเซียมฟอสเฟต

บทที่ 5.  ปุ๋ยธาตุรอง และปุ๋ยจุลธาตุ

ปุ๋ยธาตุอาหารรอง และปุ๋ยจุลธาตุ

บทที่ 6.  ปุ๋ยผสม

คำนำ
การผลิตปุ๋ยผสมโดยกระบวนการ Steam granulation
การผลิตปุ๋ยผสมโดยกระบวนการ Bulk blending
การผลิตปุ๋ยน้ำ
ความชื้นวิกฤติและการเข้ากันได้ของปุ๋ย
การคำนวณสูตรปุ๋ย

บทที่ 7.  ปุ๋ยละลายช้า

การผลิตปุ๋ยละลายช้า

บทที่ 8.  หลักการใช้ปุ๋ย

หลักการพื้นฐานของการใช้ปุ๋ย
การใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำมาตรฐาน
การใช้ปุ๋ยตามผลการวิเคราะห์ดินและพืช : mass balance
การใช้ปุ๋ยตามผลการวิเคราะห์ดินและพืช : yield goal approceh
การใช้ปุ๋ยตามผลการวิเคราะห์ดินและพืช : non-linear simulation
ผลกระทบของปุ๋ยต่อสิ่งแวดล้อม


การประเมินผล

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

website เกี่ยวข้องกับวิชานี้

 

อ่านรายละเอียดทั้งหมดได้ที่    http://webhost.wu.ac.th/msomsak/Fertech/

.

ศูนย์เทคโนโลยีปุ๋ย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (TISTR)
ดินและปุ๋ย : กรมส่งเสริมการเกษตร
สาระน่ารู้ทางการเกษตร : ปุ๋ยหมัก
ปุ๋ยอินทรีย์เม็ด สำนักงานเกษตรกำแพงเพชร
ปุ๋ยอินทรีย์ : องค์การสุรา
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
Arab Potash Company
Fertilizer and Pesticide World Market
FMB Consultants Ltd
International Fertilizer Industry Association
International Fertilizer Development Center
The Fertilizer Institute
European Fertilizer Manufacturers Association
Canadian Fertilizer Institute
Fertilizer Zone, North Carolina State University
Saskatchewan Industry and Resources
Fertilizer Industry – Ten Year Outlook, Forecast & Market Analysis Services from British Sulphur Consultants
Fertilizer Advisory, Development and Information Network for Asia and the Pacific
California Fertilizer Association
Online Journal to the Fertilizer Industry
Irish Fertilizer Industries
Alaska Fertilizer products
P & L FERTILIZER
Food & Fertilizer Technology Center
IPI – International Potash Institute
Potass & Phosphate Institute
The International Fertiliser Society
European Fertilizer Manufacturers Association
Dead Sea Works
FAO Statistical Databases
Institute of Plant Nutrition and Soil Science
Sulfuric Acid Today
The Sulfuric Acid Network
Monsanto Enviro-Chem Systems
Sulphuric Acid on the Web
World Fertilizer Use Manual
Asia Pacific Potash Corporation


.

การใช้ปุ๋ยในนาข้าว

หน้า 1 จาก 3 หน้า
1 | 2 | 3 |
หน้าต่อไป >>>

คำแนะนำในการใช้ปุ๋ยเคมี

อัตราปุ๋ยเคมีที่แนะนำนี้เป็นอัตราเฉลี่ยปานกลางที่คาดว่าจะได้ผลผลิตข้าวสูงขึ้น และได้กำไร ชาวนา อาจใส่ปุ๋ยให้แตกตางไปจากนี้ได้โดยสังเกต และพิจารณาจากพันธุ์ข้าว ราคาข้าว ราคาปุ๋ย ลักษณะดิน และสภาพแวดล้อมอื่นๆ นอกจากการใส่งปุ๋ยเคมีและขาวนา ควครใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่นปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักร่วมด้วย หรือไถกลยฟางข้าวหลังจากเก็บเกี่ยวเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ช่วยปรับสภาพของดินให้ร่วนซุย อุ้มน้ำได้ดี และยึดปุ๋ยเคมีไว้ไม่ให้สูญเสียไปได้ง่าย

ข้อควรปฏิบัติก่อนใส่ปุ๋ยในนาข้าว

  1. ควรปรับระดับดินนาให้ราบเรียบสม่ำเสมอเพื่อช่วยให้ปุ๋ยกระจายได้ดี
  2. ควรทราบเนื้อที่นาแต่ละกระทง เพื่อคิดน้ำหนักปุ๋ยที่จะใส่ได้ถูกต้องตามคำแนะนำ
  3. ต้องอุดคันนาไม่ให้น้ำรั่วไหล เพื่อป้องกันปุ๋ยไหลออกไปตามน้ำ
  4. ในระยะใส่ปุ๋ย ความให้น้ำขังในนา 5-10 เซนติเมตร หรือประมาณ 1 ฝ่ามือ
  5. ต้องดูลักษณะดินนาวาเป็นดินเหนียว ดินร่วน หรือดินทราบ เพื่อจะได้ใส่ปุ๋ยครั้งแรกถูกต้องตามหลักสูตร
  6. ต้องรู้เรื่งอพันธุ์ข้าวที่จะปลูกว่า เป็นพันธุ์ข้าวไวต่อช่วยงแสกง ซึ่งต้นสูง ปลูกได้เฉพาะนาปี เช่น ขาวดอกมะลิ 105 เหลืองประทิว 123 พิษณุโลก 3 หรือเป็นพันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง เช่น ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60 ปทุมธานี 1  ซึ่งต้นเตี้ยสามารถปลูกได้ทั้งฤดูนาปี และนาปรัง เพื่อพิจารณาใส่ปุ๋ยได้ถูกต้องตามคำแนะนำ
  7. ควรป้องกันกำจัดวัชพืช โรคและแมลง ให้ดีเพื่อทำให้การใช้ปุ๋ยมีประสิทธิภาพสูง

การใส่ปุ๋ยเคมีกับข้าวนาดำ

ครั้งแรก

ใส่ก่อนปักดำ 1 วัน แล้วคราดกลบหรือใส่วันปักดำ หรือหลังจากปักดำแล้วประมาณ 15-20 วัน

  • ดินเหนียว ใส่ปุ๋ยสูตรเคมี 16-20-0 หรือ 18-22-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 20-25 ก.ก./ไร่ สำหรับพันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสง และอัตรา 25-35 ก.ก./ไร่ สำหรับพันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
  • ดินทรายและดินร่วน  ใช้ปุ๋ยสูตร 16-16-8 หรือ 18-12-6 หรือ 15-15-15 อัตรา20-25 ก.ก./ไร่ สำหรับพันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสงและอัตรา 25-35 ก.ก./ไร่ สำหรับพันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

ครั้งที่ 2

ใส่ปุ๋ยระยะกำเนิดช่อดอก (ประมาณ 30 วัน ก่อนข้าวออกดอก)

  • พันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสง ใช้ปุ๋ยยูเรีย อัตรา 5-10 ก.ก./ไร่ หรือใช้ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0) อัตรา 10-20 ก.ก./ไร่ พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง ใช้ปุ๋ยยูเรีย อัตรา 10-15 ก.ก./ไร่ หรือใช้ปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต (21-0-0) อัตรา 25-30 ก.ก./ไร่
  • การใส่ปุ๋ยเคมีกับข้าวนาหว่านน้ำตม นาหว่านข้าวแห้ง และนาหยอด
    อัตราและชนิดของปุ๋ยเคมี เช่นเดียวกับที่ใช้ในนาดำเพียงแต่การใส่ปุ๋ยครั้งแรก ให้ใส่หลังจากหวานข้าว หรือข้าวงอกแล้วประมาณ 20-30 วัน

การใส่ปุ๋ยเคมีกับข้าวขึ้นน้ำ

ครั้งแรก ใส่ปุ๋ยหลังจากข้าวงอก 20-30 วัน โดยใส่ปุ๋ย 16-20-0 หรือ 18-22-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 20-25 ก.ก./ไร่
ครั้งที่สอง ใส่ใกล้กับระยะกำเนิดช่อดอกมากที่สุด ก่อนที่น้ำจะท่วมสูงเกิน 30 เซนติเมตร โดยใส่ปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต ประมาณ 10-20 ก.ก./ไร่  

หน้า 2 จาก 3 หน้า
1 | 2 | 3 |
หน้าต่อไป >>>

คำแนะนำในการใช้ปุ๋ยเคมี

อัตราปุยเคมีที่แนะนำนี้เป็นอัตราเฉลี่ยปานกลางที่คาดว่าจะได้ผลผลิตข้าวสูงขึ้น และได้กำไร ชาวนา อาจใส่ปุ๋ยให้แตกตางไปจากนี้ได้โดยสังเกต และพิจารณาจากพันธุ์ข้าว ราคาข้าว ราคาปุ๋ย ลักษณะดิน และสภาพแวดล้อมอื่นๆ นอกจากการใส่งปุ๋ยเคมีและขาวนา ควครใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่นปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักร่วมด้วย หรือไถกลยฟางข้าวหลังจากเก็บเกี่ยวเพื่อรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ช่วยปรับสภาพของดินให้ร่วนซุย อุ้มน้ำได้ดี และยึดปุ๋ยเคมีไว้ไม่ให้สูญเสียไปได้ง่าย
ข้อควรปฏิบัติก่อนใส่ปุ๋ยในนาข้าว

  1. ควรปรับระดับดินนาให้ราบเรียบสม่ำเสมอเพื่อช่วยให้ปุ๋ยกระจายได้ดี
  2. ควรทราบเนื้อที่นาแต่ละกระทง เพื่อคิดน้ำหนักปุ๋ยที่จะใส่ได้ถูกต้องตามคำแนะนำ
  3. ต้องอุดคันนาไม่ให้น้ำรั่วไหล เพื่อป้องกันปุ๋ยไหลออกไปตามน้ำ
  4. ในระยะใส่ปุ๋ย ความให้น้ำขังในนา 5-10 เซนติเมตร หรือประมาณ 1 ฝ่ามือ
  5. ต้องดูลักษณะดินนาวาเป็นดินเหนียว ดินร่วน หรือดินทราบ เพื่อจะได้ใส่ปุ๋ยครั้งแรกถูกต้องตามหลักสูตร
  6. ต้องรู้เรื่งอพันธุ์ข้าวที่จะปลูกว่า เป็นพันธุ์ข้าวไวต่อช่วยงแสกง ซึ่งต้นสูง ปลูกได้เฉพาะนาปี เช่น ขาวดอกมะลิ 105 เหลืองประทิว 123 พิษณุโลก 3 หรือเป็นพันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง เช่น ชัยนาท 1 พิษณุโลก 2 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60 ปทุมธานี 1  ซึ่งต้นเตี้ยสามารถปลูกได้ทั้งฤดูนาปี และนาปรัง เพื่อพิจารณาใส่ปุ๋ยได้ถูกต้องตามคำแนะนำ
  7. ควรป้องกันกำจัดวัชพืช โรคและแมลง ให้ดีเพื่อทำให้การใช้ปุ๋ยมีประสิทธิภาพสูง

การใส่ปุ๋ยเคมีกับข้าวนาดำ
ครั้งแรก ใส่ก่อนปักดำ 1 วัน แล้วคราดกลบหรือใส่วันปักดำ หรือหลังจากปักดำแล้วประมาณ 15-20 วัน
ดินเหนียว            ใส่ปุ๋ยสูตรเคมี 16-20-0 หรือ 18-22-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 20-25 ก.ก./ไร่ สำหรับพันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสง และอัตรา 25-35 ก.ก./ไร่ สำหรับพันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
ดินทรายและดินร่วน  ใช้ปุ๋ยสูตร 16-16-8 หรือ 18-12-6 หรือ 15-15-15 อัตรา20-25 ก.ก./ไร่ สำหรับพันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสงและอัตรา 25-35 ก.ก./ไร่ สำหรับพันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยระยะกำเนิดช่อดอก (ประมาณ 30 วัน ก่อนข้าวออกดอก)
พันธุ์ข้าวไวต่อช่วงแสง ใช้ปุ๋ยยูเรีย อัตรา 5-10 ก.ก./ไร่ หรือใช้ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0) อัตรา 10-20 ก.ก./ไร่ พันธุ์ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง ใช้ปุ๋ยยูเรีย อัตรา 10-15 ก.ก./ไร่ หรือใช้ปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต (21-0-0) อัตรา 25-30 ก.ก./ไร่
การใส่ปุ๋ยเคมีกับข้าวนาหว่านน้ำตม นาหว่านข้าวแห้ง และนาหยอด
อัตราและชนิดของปุ๋ยเคมี เช่นเดียวกับที่ใช้ในนาดำเพียงแต่การใส่ปุ๋ยครั้งแรก ให้ใส่หลังจากหวานข้าว หรือข้าวงอกแล้วประมาณ 20-30 วัน
การใส่ปุ๋ยเคมีกับข้าวขึ้นน้ำ
ครั้งแรก ใส่ปุ๋ยหลังจากข้าวงอก 20-30 วัน โดยใส่ปุ๋ย 16-20-0 หรือ 18-22-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 20-25 ก.ก./ไร่
ครั้งที่สอง ใส่ใกล้กับระยะกำเนิดช่อดอกมากที่สุด ก่อนที่น้ำจะท่วมสูงเกิน 30 เซนติเมตร โดยใส่ปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต ประมาณ 10-20 ก.ก./ไร่
การผลมปุ๋ยเคมีใช้เอง
การผสมปุ๋ยใช้เองจะประหยัดเงินกว่าการใชปุ๋ยสูตรสำเร็จที่ขายในท้องตลาด ซึ่งสามารถทำได้โดยการซื้อแม่ปุ๋ย (18-46-0, 46-0-0, และ 0-0-60) มาผสมให้ได้ตามสูตรที่ต้องการ ตัวอย่าง เช่น ต้องการใช้ปุ๋ยสูตร 16-20-0 จำนวน 100 กิโลกรัม ทำโดยนำแม่ปุ๋ย 18-46-0 จำนวน 44 กิโลกรัม แม่ปุ๋ย 46-0-0 จำนวน 18 กิโลกรัม และดินหรือทรายจำนวน 38 กิโลกรัม (หรืออาจไม่ใช้ก็ได้) ผสมคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน แล้วนำไปใช้เลย ถ้าจะเก็บเอาไว้ก็ไม่ควรนานเกิน 15 วัน เพราะจะทำให้ปุ๋ยชื้นสำหรับการผสมปุ๋ยสูตรอืนๆ สามารถขอตารางการผสมปุ๋ยได้จาก ธ.ก.ส. สาขาต่างๆ หรือที่ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก

หน้า 3 จาก 3 หน้า
1 | 2 | 3 |
หน้าต่อไป >>>

การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ

วัสดุที่ใช้
๑.  ปุ๋ยคอก                        ๙๐          กระสอบ
๒.  รำหยาบ                         ๔           กระสอบ
๓.  รำละเอียด                       ๒           กระสอบ
๔.  อาหารเสริม                     ๑           กระสอบ
๕.  แกลบดิบ                         ๓           กระสอบ
๖.   อาหารเสริม                    ๑            ชุด
๗.  สารเร่ง                          ๑            ชุด
๘.  ยูเรีย                             ๒            กิโลกรัม
วิธีทำ

  1. เทหัวเชื้อ พด.๑ ลงในน้ำ ๒๐๐ ลิตร ใช้ไม้คนอย่างสม่ำเสมอนาน ๑๕ นาที
  2. เทน้ำหมักชีวภาพที่ผ่านการหมักสมบูรณ์ดีแล้ว จำนวน ๑ ลิตร ผสมน้ำ ๒๐๐ ลิตร ใช้ไม้คนอยางสม่ำเสมอนาน ๑๕ นาที
  3. นำวัสดุทั้งหมดมาคลุกเคล้าให้เข้ากัน
  4. นำน้ำจากข้อ ๑ และข้อ ๒ ลาดลงบนกองวัสดุทำปุ๋ย ให้ทั่ว สม่ำเสมอ
  5. ผสมวัสดุให้เข้ากันอีกครั้ง ตั้งกองสูง ๕๐-๗๐ เซนติเมตร แล้วคลุมด้วยกระสอบป่าน
  6. กลับกองปุ๋ยทุก ๗ วัน แล้วคลุมด้วยกระสอบ จำนวน ๔ ครั้ง

เมื่อกลับกองปุ๋ย ๔ ครั้งแล้ว แผ่กองปุ๋ยออกผึ่งไว้ในที่ร่มจนแห้ง แล้วบรรจุกกระสอบที่ระบายอากาศได้ดี

 

ความรู้เกี่ยวกับปุ๋ย

ปุ๋ยคืออะไร
          ปุ๋ย คือ วัตถุหรือสิ่งที่ใส่ลงไปในดิน น้ำ หรือฉีดพ่นให้กับพืชโดยตรงเพื่อเพิ่มธาตุอาหารให้แก่พืช

ธาตุอาหาร คืออะไร
          อาหาร เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำรงชีพของสิ่งมีชีวิต คนและสัตว์ กินพืชและสัตว์เป็นอาหาร ส่วนพืชกินธาตุต่าง ๆ เป็นอาหาร ธาตุที่พืชกินเป็นอาหารเราเรียกว่า           ธาตุอาหารพืช

ธาตุอาหารพืชมีอะไรบ้าง
          ธาตุ ซึ่งเป็นอาหารของพืชมี 16 ธาตุ พืชได้รับจากน้ำ และอากาศโดยตรง 3 ธาตุ คือ
                    – ออกซิเจน (O)
                    – ไฮโดรเจน (H)
                    – คาร์บอน (C)

พืชได้รับจากดิน 13 ธาตุ คือ
                    – ธาตุอาหารหลักมี 3 ธาตุ (N) (P) (K)
                    – ธาตุอาหารรองมี 3 ธาตุ (Ca) (Mg) (S)
                    – ธาตุอาหารเสริมมี 7 ธาตุ (Fe) (Mu) (Ca) (Zn) (Mo) (B) (Ci)

ปุ๋ยมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
          ปุ๋ยแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
                    1. ปุ๋ยอินทรีย์
                    2. ปุ๋ยเคมี
                    3. ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ละลายช้า ตรา ดีดี
                    (หมายเหตุ อดีตมี 2 ประเภท)

ปุ๋ยอินทรีย์ คืออะไร
          ปุ๋ยอินทรีย์ คือ ปุ๋ยที่ได้จากสิ่งมีชีวิต ได้แก่
                    – ปุ๋ยคอก
                    – ปุ๋ยหมัก
                    – ปุ๋ยพืชสด
                    – ปุ๋ยชีวภาพ

ปุ๋ยเคมี คืออะไร
          ปุ๋ยเคมี คือ ปุ๋ยที่ได้จากการสิ่งไม่มีชีวิต ได้แก่
                    – ปุ๋ยหินฟอสเฟส 0-3-0
                    – ปุ๋ยสูตร 16-20-0
                    – ปุ๋ยสูตร 15-7-18
                    – ปุ๋ยสูตร 15-15-15 ฯลฯ

ปุ๋ยเคมีมีกี่ชนิด อะไรบ้าง
          ปุ๋ยเคมี ถ้าแบ่งตามปริมาณธาตุอาหารที่อยู่ในปุ๋ยนั้น สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ
                    1.ปุ๋ยเดี่ยว
                    2. ปุ๋ยผสม

ปุ๋ยเดี่ยว คืออะไร
          ปุ๋ยเดี่ยว คือปุ๋ยเคมีที่มีธาตุอาหารอยู่เพียงธาตุเดียว เช่น
                    – ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจน (N) อย่างเดียว ได้แก่ ปุ๋ย แอมโมเนียมซัลเฟต (21-0-0) ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) ฯลฯ
                    – ปุ๋ยที่ธาตุฟอสฟอรัส (P) อย่างเดียว ได้แก่ ปุ๋ยโปแตส เซียมคลอไรด์ (0-0-60) ปุ๋ยโปแตสเซียมซัลเฟต (0-0-50) ฯลฯ

ปุ๋ยผสม คืออะไร
          ปุ๋ยผสม คือ ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารตั้งแต่ 2 ธาตุขึ้นไป
                    – ปุ๋ยสูตร 16-20-0 เป็นปุ๋ยที่ให้ธาตุไนโตรเจน (N) และ ฟอสฟอรัส (P) เพียง 2 ธาตุ
                    – ปุ๋ยสูตร 16-8-14 เป็นปุ๋ยที่ให้ธาตุไนโตรเจน (N) และ ฟอสฟอรัส (P) โปแตสเซียม (K) ครบทั้ง 3 ธาตุ

.

    จากธาตุต่างๆ ในโลกนี้มากกว่า 100 ชนิด ธาตุที่จำเป็นต่อพืชมีเพียง 16 ธาตุคือ คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปรแตสเซี่ยม แคลเซี่ยม ซัลเฟอร์(กำมะถัน) แมกนีเซี่ยม เหล็กแมงกานีส โบรอน ทองแดง สังกะสี โมลิบดินั่ม และคลอรีน

    สามธาตุแรกได้จากน้ำและอากาศนอกจากนั้นพืชได้จากดิน

    ไนโตรเจน,ฟอสฟอรัสและโปรแตสเซี่ยมเป็นธาตุที่ต้องการมากดินไม่สามารถให้พืชได้ ไม่เพียงพอต้องให้อาหารเหล่านี้ในรูปปุ๋ย จึงเรียกธาตุเหล่านี้ว่าธาตุอาหารหลัก

    ซัลเฟอร์(กำมะถัน) แมกนีเซี่ยมและแคลเซียม เป็นธาตุอาหารที่ต้องการรองลงมาจึงเรียกว่าธาตุอาหารรอง

    ส่วนอีก7ธาตุที่เหลือคือ แมกนีเซี่ยม เหล็กแมงกานีส โบรอน ทองแดง สังกะสี โมลิบดินั่ม และคลอรีน เป็นธาตุที่พืชต้องการในปริมาณน้อย แต่พืชก็ขาดไม่ได้ จึงเรียกว่าธาตุอาหารเสริม

    เมื่อขาดธาตุอาหารพืชจะแสดงอาการผิดปรกติซึ่งโดยมากมักจะแสดงออกทางใบ ซึ่งสามารถมองเห็นได้ชัดหากมีความรู้และประสบการณ์ดังนั้นหากเราสามารถบอกได้โดยดูลักษณะ ที่ผิดปรกติที่ใบพืชเราก็สามารถที่จะใส่ปุ๋ยซึ่งมีธาตุอาหารที่ขาดนั้นลงไปได้ทันเวลาทำให้ผลผลิตเพิ่ม ขึ้นและก็เป็นการปรับปรุงดินได้อีกทางหนึ่งด้วย


    เกิดที่ใบแก่


    เกิดที่ใบออ่น
    วิธีทดสอบเริ่มจากนำใบพืชมาดูว่าเข้าลักษณะใดแล้วให้คลิ๊กเลือกที่หัวข้อนั้นแล้วท่านก็จะทราบว่าพืชของท่านขาดธาตุอาหารอะไร

    ตัวอย่าง ถ้าอการผิดปรกติเกิดที่ใบแก่ก็คลิ๊กที่เกิดที่ใบแก่แล้วดูต่อไปว่าอาการเกิดตรงกับหัวข้อใดเช่นถ้าเกิดเป็นบางส่วน ใบเป็นจุดก็คลิ๊กที่เกิดที่บางส่วนใบเป็นจุดใบใบล่างไม่แห้งแต่โค้งงอดูลักษณะอาการต่อไปถ้ามีอาการใบเหลืองแคบลงและ ยาวเหมือนแส้ก็ให้คลิ๊กที่หัวข้อนั้นท่านก็จะทราบว่าพืชของท่านขาดธาตุโมลิดินั่ม

.

เกษตรอำเภอเสลภูมิแนะการใส่ปุ๋ยข้าวนาปรัง

นายเกรียงศักดิ์ วรรณทองสุก เกษตรอำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด เปิดเผยว่าอำเภอเสลภูมิ มีการปลูกข้าวนาปรังปี 2546 ในพื้นที่ 12 ตำบล ริมฝั่งลำน้ำชี ลำน้ำยัง บึงเกลือ รวมประมาณ 25,000–30,000ไร่ ข้าวอยู่ในหลายระยะตั้งแต่ต้นกล้า การแตกกอ การอุ้มท้อง การออกรวง สภาพแปลงนาของเกษตรกรได้มีการใช้ธาตุอาหารต่างๆในดินอย่างต่อเนื่องดินนาในแถบภาคกลางมักจะขาดธาตุอาหารหลักที่ข้าวต้องการเช่น ไนโตรเจน(N) ฟอสฟอรัส(P) ส่วนโปรแตสเซี่ยม(K) มักจะขาดในดินนาที่เป็นดินทราย เกษตรอำเภอเสลภูมิ เปิดเผยต่อไปว่า ธาตุอาหารพืชทั้งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโปรแตสเซี่ยม เป็นธาตุอาหารหลักที่ข้าวต้องการปริมาณมาก ดินนาส่วนใหญ่มักจะขาด หรือมีไม่พอ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง “ไนโตรเจน” และฟอสฟอรัสฯ การใส่ปุ๋ยให้ข้าวเจริญเติบโตและให้ผลเจริญสูงสุดนั้นควรพิจารณาความอุดมสมบูรณ์ของดินธาตุอาหารที่ได้จากธรรมชาติ และจากปุ๋ยที่ใส่ลงไปในดิน ดินเหนียวและดินร่วน ซึ่งเป็นส่วนใหญ่ในภาคกลางเป็นส่วนมากมีโปรแตสเซี่นมเพียงพอสำหรับการปลูกข้าวแล้ว แต่ในดินทรายหรือดินร่วนปนทรายมีปริมาณค่าโปรแตสเซี่ยมน้อย ข้าวจะตอบสนองต่อปุ๋ยโปรแตสเซี่ยมจึงแนะนำให้ใส่ปุ๋ยโปรแตสเซี่ยมในนาดินทรายหรือดินร่วนปนทรายด้วย นายเกรียงศักดิ์ วรรณทองสุก เปิดเผยอีกว่า การใส่ปุ๋ยต้องใส่ในอัตราปุ๋ยที่แนะนำนี้ เป็นอัตราเฉลี่ยปลานกลางที่คาดว่าจะทำให้ได้ผลผลิตข้าวสูงพอสมควรและคาดว่าจะได้กำไรดีเกษตรกรอาจพิจารณาใส่ปุ๋ยแตกต่างไปจากนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์ข้าวราคาข้าว ราคาปุ๋ย ลักษณะดิน สภาพแวดล้อม เป้าหมายของผลผลิต และประสบการณ์ของชาวนา นาหว่าน โดยทั่วไปจะใส่ปุ๋ยสองครั้งคือ ครั้งที่ 1 “ปุ๋ยรองพื้น” ใช้หลักจากหว่านข้าวงอกประมาณ 20–30 วัน ปุ๋ยที่ใช้จะอยู่ในรูปของปุ๋ยรวม สูตร ที่จำหน่ายในท้องตลาดเช่น นาดินเหนียว หรือนาดินร่วนใช้ 16–20-0 ,18–22-0 ,20–20-0 หรือ 24–24-0 นาดินทราย หรือนาดินร่วนปนทรายใช้ 16–16-8 ,15-15-15 หรือ 16–24–16 ครั้งที่ 1 “ปุ๋ยแต่งหน้า” ใช้หลังจากการใช้ปุ๋ยครั้งแรกประมาณ 25–30 วัน หรือหลังจากการหว่าน ข้าวงอก 45–50 วัน ซึ่งข้าวอยู่ระยะสร้างรวงอ่อน ปุ๋ยที่ใช้เป็นปุ๋ยเดียวเฉพาะธาตุ “ไนโตรเจน(N)”สูตร 16–0-0 (ยูเรีย) อัตรา 10–15กิโลกรัมต่อไร่ หรือ สูตร 21–0-0 (แอมโนเนียมซัลเฟต หรือปุ๋ยน้ำตาล) อัตรา 20–30 กิโลกรัมต่อไร่ หากเกษตรกรมีความสงสัยประการใด โปรดติดต่อสอบถามได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอ หรือที่ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล ใกล้บ้านท่าน ข่าวภูมิภาคร้อยเอ็ด / วัชรินทร์ เขจรวงศ์

.

ข่าว/บทความในเดือนเมษายน 2550

แนะเกษตรกรใช้ปุ๋ยผสมผสานระหว่าง “ปุ๋ยเคมีและอินทรีย์”

ปัจจุบันเกษตรกรยังมีความเข้าใจไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยอย่างเหมาะสม เพราะการปลูกพืชให้ได้ผลดีต้องรู้จักใช้ปุ๋ยผสมผสานอย่างเหมาะสม ทั้งปุ๋ยอินทรีย์และเคมี มิใช่เลือกใช้ปุ๋ยชนิดใดชนิดหนึ่งเพียงอย่างเดียวเท่านั้น นายศักดิ์เกษม สุนทรภัทร์ หัวหน้าฝ่ายปุ๋ยเคมีส่วนใบอนุญาตและขึ้นทะเบียน สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ได้แนะนำการใช้ปุ๋ยว่า เริ่มต้นเกษตรกรควรเรียนรู้และเข้าใจถึงความต้องการของพืชว่าในแต่ละระยะการเติบโตต้องการธาตุอาหารใดในปริมาณเท่าใด เช่น ระยะแรกอาจใช้ปุ๋ยอินทรีย์เนื่องจากปุ๋ยอินทรีย์จะช่วยให้ดินร่วนซุย เหมาะสำหรับการตั้งตัวของต้นกล้า พอถึงระยะที่พืชต้องให้ผลผลิตก็อาจจะหันมาใช้ปุ๋ยเคมี ซึ่งมีปริมาณธาตุอาหารสูงเมื่อเปรียบเทียบกับหน่วยน้ำหนัก และพืชสามารถดึงธาตุอาหารเหล่านั้นไปใช้เพื่อการเจริญเติบโตได้ทันทีเป็นต้น ทั้งนี้ หากพิจารณาข้อได้เปรียบเสียเปรียบของปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ในการปรับปรุงดินนั้น ข้อได้เปรียบของปุ๋ยอินทรีย์คือ ช่วยปรับปรุงดินให้ดีขึ้น โดยเฉพาะคุณสมบัติทางกายภาพของดิน เช่นความโปร่ง ความร่วนซุย ความสามารถในการอุ้มน้ำ และธาตุอาหารพืชของดินดีขึ้น อยู่ในดินได้นานและค่อยๆ ปลดปล่อยธาตุอาหารพืชอย่างช้าๆ เมื่อใช้ร่วมกับปุ๋ยเคมีจะส่งเสริมปุ๋ยเคมีให้เป็นประโยชน์แก่พืชอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้จุลชีพในดินโดยเฉพาะพวกที่เป็นประโยชน์ต่อการบำรุงดินให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนข้อเสียเปรียบของปุ๋ยอินทรีย์ ได้แก่ มีปริมาณธาตุอาหารพืชต่ำ ใช้เวลานานกว่าปุ๋ยเคมีในการปลดปล่อยธาตุอาหารที่จะเป็นประโยชน์ให้แก่พืช ราคาแพงกว่าปุ๋ยเคมีเมื่อคิดเทียบในแง่ราคาต่อหน่วยต่อน้ำหนักของธาตุอาหาร อีกทั้งยังหายากหากต้องการใช้ปริมาณมาก สำหรับปุ๋ยเคมี มีข้อได้เปรียบปุ๋ยอินทรีย์ในแง่ปริมาณธาตุอาหารต่อหน่วยน้ำหนักของปุ๋ยสูงใช้ปริมาณเพียงเล็กน้อย ราคาถูกเมื่อคิดเป็นราคาต่อหน่วยน้ำหนักของธาตุอาหาร การขนส่งและเก็บรักษาสะดวก หาซื้อได้ง่าย ในขณะที่ข้อเสียเปรียบของปุ๋ยเคมี คือ ปุ๋ยเคมีไม่มีคุณสมบัติปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของดิน กล่าวคือไม่ทำให้ดินโปร่ง ร่วนซุย เหมือนปุ๋ยอินทรีย์ และหากเกษตรกรใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในรูปแอมโมเนียเป็นปริมาณมากและติดต่อกันเป็นระยะเวลานานจะทำให้ดินเป็นกรดเพิ่มขึ้น จำเป็นต้องใช้ปูนขาวช่วยแก้ความเป็นกรดในดินและต้องเข้าใจว่าปุ๋ยเคมีทุกชนิดมีความเค็ม ถ้าใช้ในอัตราสูงหรือใส่โคนต้นพืชจะเกิดอันตรายแก่พืชและการงอกของเมล็ด ทั้งนี้ จะเห็นได้ว่าปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีล้วนมีข้อดีและข้อเสียด้วยกันทั้งนั้น แต่ปุ๋ยทั้งสองชนิดก็มีบทบาทร่วมกันที่จะช่วยสนับสนุนและสร้างประโยชน์ที่ดีที่สุดในแง่ของความอุดมสมบูรณ์ของดิน ดังนั้นการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์จึงควรเป็นนโยบายที่สำคัญในการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะจะทำให้ดินได้ธาตุอาหารพืชอย่างครบถ้วน ทั้งธาตุอาหารหลักธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริม และมีโครงสร้างดินที่ดีถือเป็นระบบการผลิตแบบเกษตรยั่งยืนที่ดีที่สุดสำหรับเกษตรกรไทย อย่างไรก็ตาม การผลิตพืชโดยการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อลดต้นทุนการผลิต เกษตรกรควรทราบลักษณะและคุณสมบัติของดินในแปลงของตนเอง เพื่อจะได้แก้ไขปรับปรุงดินได้อย่างเหมาะสม จากนั้นพิจารณาดูว่าในดินมีธาตุอาหารพืชชนิดใดบ้าง การปลูกพืชต้องเพิ่มเติมธาตุอาหารพืชในปริมาณเท่าใด เพื่อจะได้พิจารณาการใช้ปุ๋ยในแบบผสมผสานได้อย่างเหมาะสม หรืออย่างน้อยควรมีการเก็บตัวอย่างดินส่งวิเคราะห์ทุก 3-5 ปี เพื่อจะได้รับคำแนะนำจากการจัดการดินและปุ๋ยอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ช่วยให้การจัดการดินและปุ๋ยได้ถูกต้องและลดต้นทุนการผลิตพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผู้เขียน: –

ที่มา: เดลินิวส์ (รายวัน) วันอังคารที่ 10 เมษายน 2550 หน้า 10.

คัดมาจาก : http://www.ubon.ricethailand.org/news/2550.htm#apr1

.


             แร่โพแทชและเกลือหิน ได้สำรวจพบคลุมพื้นท ี่ของแอ่งสกลนคร และแอ่งโคราช ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ของประเทศไทย ซึ่งคลุมพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 50,000 ตารางกิโลเมตร  โดยแร่เกลือหินจะพบวางตัว เป็นชั้นเกิดอยู่ใต้ผิวดิน จำนวน 3 ชั้น ในระดับความลึกต่างๆ  กัน แต่ในบางบริเวณจะพบเพียง 2 ชั้น และบางบริเวณจะพบเพียงชั้นเดียว เกลือหินทั้ง 3 ชั้น จะมีความหนาโดยเฉลี่ยดังนี้ ชั้นบนหนา 20 เมตร ชั้นกลางหนา 70 เมตร และชั้นล่างหนา 134 เมตร ส่วนแร่โพแทชจะพบเกิดร่วมกับแร่เกลือหิน  ซึ่งแร่โพแทชที่พบส่วนใหญ่เป็นแร่คาร์นัลไลต์ (CarnalliteKCl.MgCl2.6H2O) โดยจะพบเป็นชั้นวางตัวอยู่ข้างบนของชั้นเกลือหินชั้นล่างสุด มีความหนาโดยเฉลี่ย 42 เมตร ในระดับความลึกตั้งแต่ 75 ถึง 532 เมตร ส่วนน้อยเป็นแร่ซิลไวต์ (SylviteKCl) โดยจะเกิดเป็นชั้นบางๆ สลับกับแร่เกลือหินและแร่คาร์นัลไลด์ บางแห่งพบชั้นแร่ซิลไวต์ค่อนข้างหนาถึง 19 เมตร สำหรับพื้นที่ศักยภาพ ทางแร่ โพแทช และเกลือหิน  กล่าวโดยสรุปได้ว่าครอบคลุมพื้นที่ เกือบทั้งหมดของแอ่งสกลนคร และแอ่งโคราช ซึ่งอยู่ในเขตจังหวัดต่างๆ ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ดังนี้

                   1. แอ่งสกลนคร-จังหวัดหนองคาย จังหวัดอุดรธานี จังหวัดสกลนคร และจังหวัดนครพนม

               2. แอ่งโคราช-จังหวัดขอนแก่น จังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดมหาสารคาม จังหวัดร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร จังหวัดอุบลราชธานี จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดบุรีรัมย์ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดศรีสะเกษ

          จากผลการเจาะสำรวจของกรมทรัพยากรธรณีทั้งหมด 118 หลุม ในทั้ง 2 แอ่งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สามารถที่จะประเมินปริมาณสำรองของแร่โพแทชได้ทั้งหมดประมาณ 4 แสนล้านตัน และปริมาณสำรอง ของแร่เกลือหิน ได้ทั้งหมดประมาณ 18 ล้านล้านตัน

 


แผนที่แสดงพื้นที่แหล่งแร่โพแทช

แผนที่แสดงพื้นที่แหล่งแร่เกลือหิน


 

ไม่น่าเชื่อ!!   โปแตสเซียม !!ช่วยชีวิต!!

แก้ไขความรู้สึกอยากตาย จากโรคที่ไม่ทำให้ตาย
อิอิ … มาต่อกันค่ะ จากกระทู้โหดร้ายเมื่อวานของเหมียวซาดิส

ย้อนอาการก่อนเนาะ ถ้าเรามีอาการต่อไปนี้ ซัก 30+ นะคะ
1. อ่อนเพลีย ไม่มีแรง

2. รู้สึกเบื่อหน่าย -ซึมเศร้า
3. นอนไม่หลับ

4. มีอาการทางประสาท
5. เวียนหัว-ปวดหัว

 6. เหงื่อแตกบ่อยๆ
7. มือสั่น

8. หัวใจเต้นผิดปรกติ
9. ปวดกล้ามเนื้อปวดหลัง

10. เบื่ออาหาร
11. จิตใจฟุ้งซ่าน ขาดสมาธิ

12. เนื้อตัวชาเป็นบางครั้ง
13. ท้องอืด ท้องขึ้น

14. มือเย็น เท้าเย็น
15. รู้สึกสับสนปั่นป่วน

16. เป็นตะคริวบ่อย
17. เบื่อการพบปะผู้คน

18. อ้วน น้ำหนักเกิน
19. การทรงตัวไม่ดี

20. อยากฆ่าตัวตาย
21. เกิดการชักกระตุก

22. เป็นลมบ่อยๆ
23. ความจำเสื่อม

24. วิตกกังวลง่าย
25. หิวอย่างรุนแรง ก่อนถึงเวลา

26. ลังเลตัดสินใจไม่ได้
27. อยากกินของหวานๆ

28. กามตายด้าน
29. มีอาการภูมิแพ้

30. การประสานงาน ส่วนต่างๆ ของร่างกายเลวลง
31. คันตามผิวหนัง

32. หายใจไม่ออกบ่อยๆ
33. ฝันร้ายบ่อยๆ

34. ปากแห้ง-คอแห้ง
35. ลมหายใจ และปากมีกลิ่นแปลกๆ

36. โมโหร้าย
37. ถ่ายอุจจาระผิดปรกติ

38. ถ่ายปัสสาวะผิดปรกติ
39. หน้าร้อนผ่าวบ่อยๆ

40. ทนเสียงอึกทึก-แสงจ้าๆ ไม่ได้

อาการเหล่านี้ เมื่อไปตรวจแล้ว จะไม่พบความผิดปกติเลยค่ะ จนหมอเขาอาจบอกว่า คิดไปเอง หรือเครียดมากไป แล้วก็ให้ยาคลายเครียดมากินแต่คุณหมอที่ศึกษาเขาไปค้นค่ะ ว่าโรคนี้มีผลมาจาก ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำแล้วยังไม่สม่ำเสมออีกตะหาก
ตอนนี้แหละค่ะ ที่จะบอกว่า มันเป็นผลมาจากการใช้ชีวิตของเราๆ ที่เจอเรื่องเครียดๆเอย มลพิษเอย ไหนจะทานอาหารที่อร่อยปาก(ลำบากท้อง) ร่างกายสะสมทั้งพิษทางกาย โดนบีบคั้นทางใจ ทางใจอ่ะ ก็แก้ไขไปตามแนว อันนี้ ทำใจค่ะพี่น้อง ทำจายยย คิดในทางบวกเยอะๆส่วนทางกาย ในเมื่อมันมีเหตุจากการกินตามใจปาก (อันนี้แทงใจเหมียวดังจึ๊กๆๆ)
ก็ต้องแก้จากการกินค่ะอย่ากินอาหารมันๆ รสจัดๆ แป้งแยะๆ อะไรเทือกนั้น ให้หันมาทานจำพวกข้าวไม่ขัดขาว หรือข้างกล้อง ข้าวซ้อมมือ โฮลวีท อะไรพวกนั้นค่ะ เพราะเป็นคาร์โบโอเดรตเชิงซ้อน ย่อยช้าหน่อย ค่อยๆปล่อยน้ำตาลออกมาค่ะ ดึงเวลาให้ระดับน้ำตาลคงที่ หรือ ทานชีวจิตไปเลยก็จะดีค่ะ … ทานชีวจิต ที่จริงไม่ยุ่งยากนะคะ เลือกที่ทำง่ายๆสิคะ ง่ายๆแล้วอร่อยด้วยก็มีแยะค่ะ ( พูดแล้วอยากกินแกงเลียงจังเลย) อ๊ะๆ แต่บางทีการกินแต่อาหารเพื่อปรับสมดุลอย่างเดียวมันก็ไม่ทันกาล
ก็ต้องมีทานยาเสริมเข้าไปบ้าง คุณหมอท่านก็ได้บอกไว้อ่ะค่ะ ว่า

ให้เติมแร่ธาตุกลุ่มเกลือคาร์บอนิคซอลท์ ได้แก่ """โซเดียม แคลเซียม โปแตสเซียม และแมกนีเซียม""" สี่ตัวนี้ค่ะ จะช่วยทำให้อาการป่วยหายเร็วขึ้น

กลุ่มเกลือคาร์บอนิค ที่มีในอาหารนั้น มีดังนี้

โซเดียม ช่วยขับถ่ายทางผิวหนัง (เหงื่อ) ช่วยให้การทำงานของระบบประสาท และกล้ามเนื้อ มีอยู่ใน เกลือ หอย แครอท หัวบีท อาร์ติโช้ค เนื้อสัตว์

แคลเซียม สร้างกระดูก ฟัน เล็บ ช่วยการเต้นของหัวใจ ทำให้นอนหลับ ช่วยให้ธาตุเหล็กทำงานดีขึ้น สร้างเลือด ช่วยระบบประสาท ได้จากนม และผลิตผลจากนม ปลา และกระดูกปลา ถั่วต่างๆ วอลนัท เมล็ดทานตะวัน ถั่วเหลือง ถั่วแดง ผักใบเขียว

โปแตสเซียม ช่วยให้สมองทำงานดีขึ้น ช่วยให้การขับถ่ายดีขึ้น ช่วยลดความดันโลหิต ช่วยแก้ภูมิแพ้ ช่วยรักษาระดับน้ำตาลในเลือด มีในพวกส้ม และผลไม้เปรี้ยว แคนตาลูป มะเขือเทศ แห้ว ผักใบเขียว เมล็ดทานตะวัน กล้วย มัน (หัว)

แมกนีเซียม ช่วยแก้รู้สึกซึมเศร้า ช่วยระบบเลือดหัวใจ ช่วยฟันแข็งแรง ช่วยละลายแคลเซียมสะสม ช่วยในการย่อยมีในมะนาว ส้มโอ ข้าวโพด อัลมอนด์ ถั่วต่างๆ ผักเขียวแก่ แอปเปิ้ล

ถ้าจะทานเสริมอย่างสกัดเป็นเม็ด หรือเป็นอาหารเสริมก็ให้ทาน แคลเซียม 500 มก. โปแตสเซียม 100 มก. แมกนีเซียม 300 มก. (กินทุกวัน ประมาณ 2-3 อาทิตย์) โซเดียมไม่ต้องเติม เพราะคนไทยกินเค็มมากอยู่แล้ว.

ใครที่ทานอยู่แล้ว อย่าไปเบิ้ลนะคะ น้อยไปก็ไม่ดี มาก

.

         นักบริหารระดับสูง นบส 1 รุ่น 53 

………………………………………………………………………………………………………………………………

 

 

รายงานการศึกษาดูงาน จังหวัดอุดรธานีและจังหวัด หนองคาย

 

แนวทางการพัฒนาจังหวัดอุดรธานี

โดย นายอุทาน ชวเมธี รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี

วันอังคารที่ 5 มิถุนายน 2550 เวลา 14.45 – 15.30 น.

ณ ห้องประชุมแกรนด์ รอยัล บอลรูมโรงแรมเจริญศรีแกรนด์ รอยัล

 

ประเด็นสาระสำคัญในการนำเสนอเพื่อเพิ่มองค์ความรู้และสร้างความเข้าใจให้แก่ ผู้เข้ารับการ อบรมตามหลักสูตร นักบริหารระดับสูง : ผู้ที่มีวิสัยทัศน์และคุณธรรม จำแนกเป็น 5 ประเด็น ได้แก่

1. ข้อมูลภาพรวมจังหวัดอุดรธานี

2. ผลการพัฒนาที่ผ่านมาและบทบาทของจังหวัด

3. ศักยภาพและโอกาสต่อการพัฒนา

4. วิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด

5. แนวทางการพัฒนาจังหวัดอุดรธานีของผู้ว่าราชการจังหวัด

ข้อมูลภาพรวมจังหวัดอุดรธานี

สภาพทั่วไป : ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปเป็นที่ราบสูง สูงกว่าระดับน้ำทะเลปานกลางประมาณ187 เมตร พื้นที่เอียงลาดลงสู่แม่น้ำโขงทางจังหวัดหนองคาย ประกอบด้วยพื้นที่ราบ ป่าไม้ และภูเขา พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินปนทราบและดินลูกรัง ชั้นล่างเป็นดินดานพื้นที่บางแห่งเป็นดินเค็มซึ่งประกอบการกสิกรรมไม่ค่อยได้ผลดี พื้นที่บางส่วน เป็นลูกคลื่นลอนลาดมีพื้นที่ราบแทรกอยู่กระจัดกระจายสภาพพื้นที่ทางตะวันตกมีภูเขาและป่าติดต่อกันเป็นแนวยาวมีเทือกเขาที่สำคัญคือเทือกเขาภูพาน

พื้นที่ : มีพื้นที่ประมาณ 11,730.302 ตารางกิโลเมตร หรือ 7,331,488.75 ไร่ โดยเป็นพื้นที่ในเขตชลประทาน จำนวน 321,415 ไร่ พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ ได้แก่ อ้อย จำนวน 440,066 ไร่ มันสำปะหลัง จำนวน 199,475 ไร่ ยางพารา จำนวน 160,535 ไร่ ข้าวเหนียวนาปี จำนวน 1,946,082 ไร่

ประชากร : จังหวัดอุดาธานีมีประชากร (ณ ธันวาคม 2549) จำนวน 1,521,461 คน แยกเป็น ชาย 761,373 คน หญิง 760,088 คน อำเภอที่มีประชากรมากที่สุดคือ อำเภอเมืองอุดรธานี จำนวน 248,464 คน (รวมเขตเทศบาลนครอุดรธานี) อันดับที่ ได้แก่อำเภอกุมภวาปี จำนวน 126,524 คน อันดับที่ 3 คืออำเภอบ้านดุง จำนวน 121,907 คน ความหนาแน่นของประชากรมากที่สุดคืออำเภอเมืองอุดรธานี จำนวน 366 คน/ตารางกิโลเมตร รองลงมาคือ อำเภอกุมภวาปี จำนวน 191 คน/ตารางกิโลเมตร จำนวนครัวเรือนจำนวน 368,543 ครัวเรือน

เศรษฐกิจ : ปี 2548 ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) ของจังหวัดอุดรธานีมีจำนวน 52,652 ล้านบาท เศรษฐกิจของจังหวัดอุดรธานีเป็นอันดับ 3 ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รายได้ของจังหวัดขึ้นอยู่กับการผลิต สาขาการบริการรองลงมาเป็นภาคเกษตรกรรม ได้แก่ข้าว อ้อย มันสำปะหลัง ยางพารา การค้าส่งค้าปลีก และอุตสาหกรรม รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี (per capita GRP,GPP) ในปี 2548 เท่ากับ 36,144  บาท/คน/ปี

สังคม : สภาพสังคม วัฒนธรรมของจังหวัดอุดรธานีเป็นสังคมที่มีการอยู่ร่วมกันของคน เชื้อชาติต่าง ๆ อย่างกลมกลืน โดยส่วนใหญ่เป็นของชาวพุทธที่ยึดมั่นในหลักคำสอนของศาสนา จึงได้ชื่อว่าเป็นดินแดนแห่งธรรมะ เป็นที่พำนักปฏิบัติของพระอริยสงฆ์ที่ได้รับความเคารพนับถือ ของพุทธศาสนิกชนโดยทั่วไปหลายรูป มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินจังหวัดอุดรธานีได้จัดว่าอยู่ในเกณฑ์ดีเมื่อเทียบกับจังหวัด ในภาคอื่นโดยมีสัดส่วนคดีอาชญากรรม ต่อประชากร 1,000 คน อยู่ที่ 0.38 คดี และคดียาเสพติดอยู่ที่ 0.92

 – ผลการพัฒนาที่ผ่านมา และบทบาทของจังหวัด

เศรษฐกิจของจังหวัดอุดรธานีมีการขยายตัวสูงโดยวัดจาก GPP ราคาคงที่ ปี 2548 มูลค่า 27,814 ล้านบาท คิดเป็น 47% ของกลุ่มจังหวัดแยกเป็น

 – ภาคการเกษตร มูลค่า 27,814   ล้านบาท คิดเป็น 16.8

ภาคอุตสาหกรรม มูลค่า 3,590   ล้านบาท คิดเป็น 10.9

 – ภาคบริการ มูลค่า 12, 700   ล้านบาท คิดเป็น 45.7

ภาคการค้า มูลค่า 68,646   ล้านบาท คิดเป็น 24.6

พื้นที่ป่าสงวนของจังหวัดอุดรธานีมีประมาณ 2,908,723.50 ไร่ พื้นที่ป่าสมบูรณ์มีพื้นที่ 903,970.91 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.74 ของพื้นที่จังหวัด มีสภาพเสื่อมโทรมลงส่งผลให้เกิดอุทกภัย หน้าดิน เสื่อมสภาพ

การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐานโดยเฉพาะเส้นทางคมนาคมและท่าอากาศยานนานาชาติ  มีส่วนส่งเสริมให้เกิดการเชื่อมโยงด้านการค้า การลงทุน การเดินทางท่องเที่ยว

ประชากรวัยแรงงานเคลื่อนย้ายออกไปทำงานนอกพื้นที่จำนวนมากเป็นอันดับ 1 ของประเทศ สามารถนำเงินตราต่างประเทศกลับมาพัฒนาภูมิลำเนา ชุมชนจำนวนมาก ในขณะเดียวกันก็มีผลต่อการพัฒนาชุมชน เนื่องจากการเคลื่อนย้ายคนวัยแรงงานออกไปมากทำให้มีผู้สูอายุและเด็ก อาศัยอยู่ในหมู่บ้าน/ชุมชนในสัดส่วนที่สูงขึ้น ส่งผลต่อการขาดกำลังวัยแรงงานในการสร้างงานในหมู่บ้าน

 

ศักยภาพและโอกาสต่อการพัฒนา

1. มีศักยภาพการพัฒนาเป็นฐานการผลิตสินค้าเกษตรเชิงอุตสาหกรรม เนื่องจากมีผลผลิตการเกษตรที่สำคัญหลายชนิดที่สามรถนำไปแปรรูปเป็นสินค้าอุตสาหกรรม เช่น อ้อย มันสำปะหลัง ยางพารา ข้าวโพด เป็นต้น

2. เป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ง การเดินทางท่องเที่ยวไปในกลุ่มจังหวัดและจังหวัดใกล้เคียง เนื่องจากมีความสะดวกในการคมนาคมทั้งทางยกและทางอากาศโดยเฉพาะสนามบินจังหวัดอุดรธานีได้ ยกฐานะเป็นสนามบินนานาชาติที่มีเที่ยวบินภายในประเทศสูงเป็นอันดับที่ 1 ในภูมิภาค โยมีเที่ยวบินระหว่างอุดร กรุงเทพฯ ไป กลับ วันละ 7 เที่ยวบิน อุดร เชียงใหม่ ทุกวัน ๆ ละ 1 เที่ยว และเที่ยวบินระหว่างอุดร สิงค์โปร (Tiger Air) สัปดาห์ละ 3 วัน และมีความสะดวกในการคมนาคมทางยกโดยทางรถยนต์และรถไฟ

3. มีแรงงานเดินทางไปทำงานต่างประเทศเป็นอันดับ 1 และมีรายได้จากผู้ไปทำงานต่างประเทศกลับ

4.  การค้นพบแหล่งก๊าซธรรมชาติ (NGV) ที่แหล่งภูฮ่อม อำเภอหนองแสง เพื่อใช้ในการผลิตกระแสไฟฟ้าและใช้แทนน้ำมันเชื้อเพลิง  (มีประมาณ0.55 ล้านลูกบาศก์ฟุต)   และแหล่งแร่โปแตส       (ปริมาณ 180 ล้านตัน)  เป็นสิ่งที่จะช่วยให้เกิดการพัฒนาในเชิงอุตสาหกรรม และการกระจายรายได้สู่ชุมชน/ท้องถิ่น

5. มีแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลายทั่งแหล่งท่องเที่ยวตามธรรมชาติ ศิลปวัฒนธรรมโบราณสถาน/โบราณวัตถุ และแหล่งมรดกโลก (หลุมขุดค้นทางโบราณคดีบ้านเชียงที่มีร่องรอยการอยู่อาศัยของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่มีอายุราว 5,000 ปี และได้รับการประกาศให้เป็นแหล่ง มรดกโลกจากองค์กรUNRSCO เมื่อปี 2535)

6. อยู่ใกล้ชายแดนสามารถเชื่อมโยงการค้า การลงทุนและการท่องเที่ยวกับประเทศ สปป.ลาว ได้โดยสะดวก (อยู่ห่างจากด่านไทย ลาว) ที่ จ.หนองคาย 54 กม.)

7.  มีสถานศึกษาระดับอุดรศึกษา อาชีวะที่สามารถผลิตนักศึกษาเพื่อรองรับการพัฒนาและภาคการบริการ รวมถึงการนำผลการศึกษาวิจัยไปสนับสนุนการพัฒนา

 สามารถดูทั้งหมดได้ที่ : http://www.polpage.com/53udornpage001.htm

.

ร่วมด้วยช่วยเกษตรกร

ประกาศเตือนโรคใบจุดสีน้ำตาลในนาข้าว….

วันที่ 22 สิงหาคม 2550 โรคใบจุดสีน้ำตาล (Brown Spot)

สาเหตุ เชื้อรา Helminthosporium oryzae Breda de Haan.

อาการ แผลที่ใบข้าวมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาล รูปกลมหรือรูปไข่ ขอบนอกสุดของแผลมีสีเหลือง มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 มม. แผลที่มีการพัฒนาเต็มที่ขนาดประมาณ 1-2 x 4-10 มม. บางครั้งพบแผลไม่เป็นวงกลมหรือรูปไข่ แต่จะเป็นรอยเปื้อนคล้ายสนิมกระจัดกระจายทั่วไปบนใบข้าว แผลยังสามารถเกิดบนเมล็ดข้าวเปลือก บางแผลมีขนาดเล็ก บางแผลอาจใหญ่คลุมเมล็ดข้าวเปลือก ทำให้เมล็ดข้าวเปลือกสกปรก เสื่อมคุณภาพ เมื่อนำไปสีข้าวสารจะหักง่าย

การแพร่ระบาด เกิดจากสปอร์ของเชื้อราปลิวไปตามลมและติดไปกับเมล็ด

การป้องกันกำจัด

• ใช้พันธุ์ต้านทานที่เหมาะสมกับสภาพท้องที่ และโดยเฉพาะพันธุ์ที่มีคุณสมบัติต้านทานโรคใบสีส้ม

• คลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น เบนเลทที อัตรา 3 กรัม / เมล็ด 1 กก.

ใส่ปุ๋ยโปแตสเซียมคลอไรด์ อัตรา 5-10 กก. / ไร่ ช่วยให้ข้าวเป็นโรคน้อยลง

• กำจัดวัชพืชในนา ทำแปลงให้สะอาด และใส่ปุ๋ยในอัตราที่เหมาะสม หรือปลูกพืชหมุนเวียนจะช่วยลดความรุนแรงของโรคได้

• ถ้าอาการของโรคใบจุดสีน้ำตาลรุนแรงในระยะข้าวแตกกอ ควรพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น ฮิโนซาน เดลซีน-เอมเอ็กซ์ อัตราตามคำแนะนำของนักวิชาการ

ข่าวเกษตรอื่นๆ

   ปศุสัตว์จังหวัดสกลนครเตือน ระมัดระวังโรคปากเท้าเปื่อยกับโรคปอดบวม

   กลับมาอีกครั้ง…ลองกองธงฟ้า

   เปิดอบรมฟรี…การเลี้ยงปลาแบบผสมผสาน ยังไม่มีความเห็นในหัวข้อข่าว

ลิขสิทธิ์ 2006 สถานีวิทยุร่วมด้วยช่วยกัน จังหวัดสกลนคร
admin@rakbankerd.com

http://www.rd1677.com/rd_sakolnakhon/kaset_sakolnakhon.php?id=13501

Previous Older Entries Next Newer Entries